วันพุธที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2552
เรื่อง กระรอก 5 ตัว ในป่าแห่งหนึ่ง มีต้นไม้ใหญ่ขึ้นอยู่- มีกระรอก 5 ตัว วิ่งเล่นไต่ขึ้นลงอยู่บนกิ่งไม้ กระรอกตัวที่ 1 โผล่หน้าขึ้นมา ชะโงกมองไปทางซ้าย และขวา แล้วพูดว่า แน่ะ! ใครเดินมา กระรอกตัวที่ 2 ก็โผล่หน้าขึ้นมา ชะโงกมองไปทางซ้าย และขวา พร้อมกับบอกว่า มีคนผู้ชาย ถือปืนเดินทางนี้ กระรอกตัวที่ 3 รีบบอกเพื่อนๆว่า เร็ว เร็ว หนีเร็วเถอะ กระรอกตัวที่ 4 กลัวมาก ร้องไห้ ฮือๆ และพูดว่ากลัวๆ กระรอกตัวที่ 5 พูดว่า กลัวทำไมกัน ฉันไม่เห็นกลัวเลย ทันใดนั้น มีเสียงปืนดังขึ้น ปัง ปัง ปัง กระรอกทุกตัว รีบวิ่งเข้าไปแอบซ่อนตัวเงียบอยู่ที่ใต้ใบไม้ พอสักครู่ใหญ่ นายพรานก็ถือปืนเดินผ่านต้นไม้ แต่ไม่เห็นเจ้ากระรอกทั้ง 5 ตัว จึงเดินเลยผ่านไปไกล กระรอกทั้ง 5 ตัว จึงค่อยๆโผล่ขึ้นมาแล้ววิ่งขึ้นลงต้นไม้ต่อไปอย่างร่าเริงและก็เที่ยวเล่นในป่าใหญ่เหมื่อมเดิม
วันจันทร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2552
หน่วยข้าว
แผนการสอนที่ 1
เรื่อง ข้าวมหัศจรรย์
ผู้สอน นางสาวพัชนี แบ่งเพชร
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้เด็กรู้จักชนิดของข้าว เช่น ข้าวสาร ข้าวเปลือก ข้าวสวย ข้าวเหนียว
2.เพื่อให้เด็กรู้จักลักษณะของข้าว
3.เพื่อให้เด็กรู้จักการนำข้าวมาประกอบอาหาร
4. เพื่อให้เด็กรู้ถึงประโยชน์ของข้าว
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ให้เด็กนับว่าข้าวมีกี่ประเภท แล้วให้เด็กนำตัวเลขมาแทนค่าที่เด็กนับจำนวนถ้วยข้าวได้
2.ให้เด็กนับว่าข้าวมีกี่สี แล้วให้เด็กนำตัวเลขมาแทนค่าที่เด็กนับจำนวนสีของข้าวได้
3.ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับข้าวว่ามีรูปทรงเป็นอย่างไร เหมือนกับอะไร ที่เด็กๆรู้จักบ้าง
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับลักษณะเมล็ดข้าว
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.ตัวเลข 1-10 9.คำคล้องจอง
แผนการสอนที่ 2
เรื่อง ส่วนประกอบของข้าว
ผู้สอน นางสาวสุนิดา ทิพประมวล
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ครูใช้คำถาม เด็กๆรู้ไหมค่ะว่าข้าวมีส่วนประกอบอะไรบ้าง เช่น เปลือกของข้าว เมล็ดข้าว
2.ครูให้เด็กๆต่อจิกซอที่เป็นส่วนประกอบของข้าว
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับส่วนประกอบของเมล็ดข้าว
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.จิกซอ 9.คำคล้องจอง
แผนการสอนที่ 3
เรื่อง ประโยชน์ของข้าว
ผู้สอน นางสาวธารทิพย์ ชิดจังหรีด
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ครูใช้คำถาม เด็กๆรู้ไหมว่าข้าวมีประโยชน์อย่างไร
2.ครูนำภาพที่แปรรูปมาจากข้าวให้เด็กๆดู เช่น เส้นก๋วยเตี๋ยว แป้ง ขนมปัง
3.ครูสนทนากับเด็กๆเกี่ยวกับโทษของข้าว
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับโทษและประโยชน์ของข้าว
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.ภาพโปสเตอร์ 9.คำคล้องจอง
แผนการสอนที่ 4
เรื่อง สถานที่
ผู้สอน นางสาววัชรา ทิพเจริญ
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ครูใช้คำถาม เด็กๆเคยเห็นข้าวจากที่ไหนบ้าง เช่น ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า นาข้าว โรงสี ยุ่งข้าว ที่บ้าน
2.ครูนำภาพจิกซอ เช่น ภาพต้นข้าวในนา
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับสถานที่พบข้าว และร่วมกันร้องเพลง
เพลงข้าว
มากินข้าวสิ มากินข้าวสิ
กับดี ดี กับดี ดี
มีทั้งแกงและต้มยำ อ่ำ อ่ำ อั้ม อร่อยดี
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.จิกซอ 9.คำคล้องจอง
เรื่อง ข้าวมหัศจรรย์
ผู้สอน นางสาวพัชนี แบ่งเพชร
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้เด็กรู้จักชนิดของข้าว เช่น ข้าวสาร ข้าวเปลือก ข้าวสวย ข้าวเหนียว
2.เพื่อให้เด็กรู้จักลักษณะของข้าว
3.เพื่อให้เด็กรู้จักการนำข้าวมาประกอบอาหาร
4. เพื่อให้เด็กรู้ถึงประโยชน์ของข้าว
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ให้เด็กนับว่าข้าวมีกี่ประเภท แล้วให้เด็กนำตัวเลขมาแทนค่าที่เด็กนับจำนวนถ้วยข้าวได้
2.ให้เด็กนับว่าข้าวมีกี่สี แล้วให้เด็กนำตัวเลขมาแทนค่าที่เด็กนับจำนวนสีของข้าวได้
3.ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับข้าวว่ามีรูปทรงเป็นอย่างไร เหมือนกับอะไร ที่เด็กๆรู้จักบ้าง
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับลักษณะเมล็ดข้าว
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.ตัวเลข 1-10 9.คำคล้องจอง
แผนการสอนที่ 2
เรื่อง ส่วนประกอบของข้าว
ผู้สอน นางสาวสุนิดา ทิพประมวล
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ครูใช้คำถาม เด็กๆรู้ไหมค่ะว่าข้าวมีส่วนประกอบอะไรบ้าง เช่น เปลือกของข้าว เมล็ดข้าว
2.ครูให้เด็กๆต่อจิกซอที่เป็นส่วนประกอบของข้าว
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับส่วนประกอบของเมล็ดข้าว
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.จิกซอ 9.คำคล้องจอง
แผนการสอนที่ 3
เรื่อง ประโยชน์ของข้าว
ผู้สอน นางสาวธารทิพย์ ชิดจังหรีด
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ครูใช้คำถาม เด็กๆรู้ไหมว่าข้าวมีประโยชน์อย่างไร
2.ครูนำภาพที่แปรรูปมาจากข้าวให้เด็กๆดู เช่น เส้นก๋วยเตี๋ยว แป้ง ขนมปัง
3.ครูสนทนากับเด็กๆเกี่ยวกับโทษของข้าว
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับโทษและประโยชน์ของข้าว
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.ภาพโปสเตอร์ 9.คำคล้องจอง
แผนการสอนที่ 4
เรื่อง สถานที่
ผู้สอน นางสาววัชรา ทิพเจริญ
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนร่วมกันท่องคำคล้องจองข้าว พร้อมทำท่าทางอิสระประกอบคำคล้องจองตามจินตนาการและสนทนาเนื้อหาของคำคล้องจอง
คำคล้องจองข้าว
ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง
อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า
ผู้คนอดอยาก มีมากนักหนา
สงสารบรรดา เด็กตาดำดำ
ขั้นสอน
1.ครูใช้คำถาม เด็กๆเคยเห็นข้าวจากที่ไหนบ้าง เช่น ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า นาข้าว โรงสี ยุ่งข้าว ที่บ้าน
2.ครูนำภาพจิกซอ เช่น ภาพต้นข้าวในนา
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับสถานที่พบข้าว และร่วมกันร้องเพลง
เพลงข้าว
มากินข้าวสิ มากินข้าวสิ
กับดี ดี กับดี ดี
มีทั้งแกงและต้มยำ อ่ำ อ่ำ อั้ม อร่อยดี
อุปกรณ์
1.ถ้วย
สื่อ
1.ข้าวเปลือกจ้าว 2.ข้าวเปลือกเหนียว
3.ข้าวสารจ้าว 4.ข้าวสารเหนียว
5.ข้าวสุกจ้าว 7.ข้าวสุกเหนียว
8.จิกซอ 9.คำคล้องจอง
วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2552 วันพฤหัสบดี
อาจารย์สอนเรื่อง เกี่ยวกับแผนการสอนเดี่ยว
วันที่ 1 ควรสอนเรื่องลักษณะของหน่วยที่ทำ โดยมีเกฑณ์อย่างเดียว เช่น สี รูปร่าง ลักษณะ ขนาด การใช้คำถามลักษณะเป็นอย่างไร สีเป็นสีอะไร รูปร่างเป็น อย่างไร
วันที่ 2 ส่วนประกอบหน่วยที่ทำว่ามีอะไรบ้าง การใช้คำถามกับเด็กให้โยงกับความรู้เดิม หรือว่าเราอาจเอานิทานเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เช่น การเล่านิทานเกี่ยวกับหน่วย เอารูปมาให้เด็กดู
วันที่ 3 ประโยชน์การเล่าเป็นนิทานเกี่ยวกับหน่วย การสอนผ่านนิทาน การบอกประโยชน์ที่สร้างรายได้ และการบอกว่าเราได้ประโยชน์อย่างไรกับตัวเรา เช่นการทำอารหาร
วันที่ 1 ควรสอนเรื่องลักษณะของหน่วยที่ทำ โดยมีเกฑณ์อย่างเดียว เช่น สี รูปร่าง ลักษณะ ขนาด การใช้คำถามลักษณะเป็นอย่างไร สีเป็นสีอะไร รูปร่างเป็น อย่างไร
วันที่ 2 ส่วนประกอบหน่วยที่ทำว่ามีอะไรบ้าง การใช้คำถามกับเด็กให้โยงกับความรู้เดิม หรือว่าเราอาจเอานิทานเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เช่น การเล่านิทานเกี่ยวกับหน่วย เอารูปมาให้เด็กดู
วันที่ 3 ประโยชน์การเล่าเป็นนิทานเกี่ยวกับหน่วย การสอนผ่านนิทาน การบอกประโยชน์ที่สร้างรายได้ และการบอกว่าเราได้ประโยชน์อย่างไรกับตัวเรา เช่นการทำอารหาร
วันพฤหัสบดีที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2551
วันพฤหัสบดี ที่18 ธันวาคม 2551
อาจารย์สอนเกี่ยวกับหลักการสอนคณิตศาสตร์
1.สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2.เปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตัวเอง
3.มีเป้าหมายและมีการวางแผนอย่างดี
4.เอาใจใส่เรื่องการเรียนรู้และลำดับของการพัฒนาความคิดรวบยอด
5.ใช้วิธีการจดบันทึกพฤติกรรมหรือระเบียบพฤติการณ์ เพื่อใช้ในการวางแผนและกิจกรรม
6.ใช้ประโยชน์จากประสบการเดิมของเด็ก
7.รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
8.ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตจริง เพื่อสอนความคิดรวบยอดที่ยากๆ
9.ใช้วิธีที่เด็กมีส่วนรวมหรือปฎิบัติการจริงเกี่ยวกับตัวเลข
10.วางแผนส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ทั้งโรงเรียนฉละบ้านอย่างต่อเนื่อง
11.บันทึกปัญหาการเรียนรู้ของเด็กอย่างสมำเสมอเพื่อแก้ไขปรับปรุง
12.คาบหนึ่งการสอนเพียงความคิดรวบยอดเดียว
13.เน้นกระบวนการเล่นจากง่ายไปยาก
14.ครูควรสอนสัญลักษณ์ตัวเลข หรือเครื่องหมายเมื่อเด็กเข้าใจสิ่งเหล่านั้นแล้ว
การเตรียมพร้อมให้เด็กเก่งคณิตศาสตร์นั้นจะต้องให้เด็กได้พัฒนาการทางด้านสายตาก่อนเป็นอันดับแรก ถ้าหากเด็กไม่สามารถใช้สายตาในการจำแนกจัดแบ่งประภทแล้ว เด็กก็จะมีปัญหาด้านการเร๊ยนรู้ได้
1.สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2.เปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตัวเอง
3.มีเป้าหมายและมีการวางแผนอย่างดี
4.เอาใจใส่เรื่องการเรียนรู้และลำดับของการพัฒนาความคิดรวบยอด
5.ใช้วิธีการจดบันทึกพฤติกรรมหรือระเบียบพฤติการณ์ เพื่อใช้ในการวางแผนและกิจกรรม
6.ใช้ประโยชน์จากประสบการเดิมของเด็ก
7.รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
8.ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตจริง เพื่อสอนความคิดรวบยอดที่ยากๆ
9.ใช้วิธีที่เด็กมีส่วนรวมหรือปฎิบัติการจริงเกี่ยวกับตัวเลข
10.วางแผนส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ทั้งโรงเรียนฉละบ้านอย่างต่อเนื่อง
11.บันทึกปัญหาการเรียนรู้ของเด็กอย่างสมำเสมอเพื่อแก้ไขปรับปรุง
12.คาบหนึ่งการสอนเพียงความคิดรวบยอดเดียว
13.เน้นกระบวนการเล่นจากง่ายไปยาก
14.ครูควรสอนสัญลักษณ์ตัวเลข หรือเครื่องหมายเมื่อเด็กเข้าใจสิ่งเหล่านั้นแล้ว
การเตรียมพร้อมให้เด็กเก่งคณิตศาสตร์นั้นจะต้องให้เด็กได้พัฒนาการทางด้านสายตาก่อนเป็นอันดับแรก ถ้าหากเด็กไม่สามารถใช้สายตาในการจำแนกจัดแบ่งประภทแล้ว เด็กก็จะมีปัญหาด้านการเร๊ยนรู้ได้
วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
สัปดาห์ที่ 4 วันที่ 27 พฤศจิกายน 2551
มาตรฐานการวัดในระบบเมตริก
1. คำศัพท์ที่เด็กควรทราบ
2. ระบบเมตริกที่เด็กใช้ในชีวิตประจำวัน
3. การวัดเรื่องสัปดาห์ เช่น หนึ่งสัปดาห์มีกี่วัน
ลักษณะหลักสูตรทีดี
มีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้
1. เน้นกระบวนการคิดและการพัฒนาความคิดรวบยอด
2. เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวันไม่ใช่การท่องจำ
3. แนะนำคำศัพท์ใหม่ๆและสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่ฮยไป
4. สร้างเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
5. ส่งเสริมให้เด็กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
6. เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดมีทักษะคณิตศาสตร์ไปพร้อมๆกัน
7. เปิดให้เด็กได้ค้นคว้า สำรวจปฎิบัติ รู้จักตัดสินใจด้วยตนเอง
1. คำศัพท์ที่เด็กควรทราบ
2. ระบบเมตริกที่เด็กใช้ในชีวิตประจำวัน
3. การวัดเรื่องสัปดาห์ เช่น หนึ่งสัปดาห์มีกี่วัน
ลักษณะหลักสูตรทีดี
มีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้
1. เน้นกระบวนการคิดและการพัฒนาความคิดรวบยอด
2. เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวันไม่ใช่การท่องจำ
3. แนะนำคำศัพท์ใหม่ๆและสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่ฮยไป
4. สร้างเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
5. ส่งเสริมให้เด็กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
6. เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดมีทักษะคณิตศาสตร์ไปพร้อมๆกัน
7. เปิดให้เด็กได้ค้นคว้า สำรวจปฎิบัติ รู้จักตัดสินใจด้วยตนเอง
วันพฤหัสบดีที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์เกี่ยวข้องกับเรื่องตัวเลข เรียงลำดับ จำนวนนับ เปรียบเทียบ เชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้คณิตศาสตร์เพื่อให้เด็กแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวันได้
จุดมุ่งหมาย
1.เพื่อให้เด็กได้ใช้เหตุผล
2.เพื่อให้เด็กใช้กระบวนการทางการหาคำตอบ
3.เพื่อเกิดความเข้าใจรู้จักคำศัพท์และสัญลักษ์
จุดมุ่งหมาย
1.เพื่อให้เด็กได้ใช้เหตุผล
2.เพื่อให้เด็กใช้กระบวนการทางการหาคำตอบ
3.เพื่อเกิดความเข้าใจรู้จักคำศัพท์และสัญลักษ์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)